หลักสูตร

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล

ภาษาไทย : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration Program in Business Computer of Digital

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ชื่อเต็ม (ไทย) : บริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล)
ชื่อย่อ (ไทย) : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Business Administration (Business Computer of Digital)
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.B.A. (Business Computer of Digital)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต

รูปแบบของหลักสูตร

– รูปแบบที่
            หลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 (มคอ.1)
– ประเภทของหลักสูตร
           เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรีทางวิชาการ
– ภาษาที่ใช้
– จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
– เอกสารและตำราในวิชาของหลักสูตรเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
– การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน และเข้าใจภาษาไทย ได้เป็นอย่างดี

5. รายวิชาในหลักสูตร

 โครงสร้างหลักสูตร

โครงสร้างหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2563 สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2552 และสมาคมคอมพิวเตอร์ IEEE และ ACM ดังนี้

หมวดวิชา

โครงสร้างหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2563

 (หน่วยกิต)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า

(1) กลุ่มวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร

(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30

10

6

6

8

หมวดวิชาเฉพาะ                ไม่น้อยกว่า

(1) กลุ่มวิชาแกน

(2) กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน

– วิชาเนื้อหาบังคับ

1) กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ

2) กลุ่มเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์

3) กลุ่มเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์

4) กลุ่มโครงสร้างพื้นฐานของระบบ

– วิชาเนื้อหาเลือก

– วิชาปฏิบัติการและสหกิจศึกษา

1) เตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/เตรียมสหกิจศึกษา

2) ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษา

100

45

 

42

(15)

(12)

(9)

(6)

6

7

 (1)

(6)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี           ไม่น้อยกว่า6
รวมตลอดหลักสูตร    ไม่น้อยกว่า136

รายวิชาตามโครงสร้างในหลักสูตร

ก.  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                        ไม่น้อยกว่า   30  หน่วยกิต

1) กลุ่มวิชาภาษาเพื่อการสื่อสาร                            เรียนทั้งหมด 10  หน่วยกิต

– วิชาบังคับ                                              บังคับเรียน    6   หน่วยกิต

0001101

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

(Thai for Communication)

2(2-0-4)
0001102

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

(English for Communication)

2(2-0-4)
0001104

การฟัง-พูด ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

(Listening and Speaking English for Daily Life Communication)

2(2-0-4)

– วิชาเลือก   ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้                 จำนวน 4 หน่วยกิต

 

0001103

สารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า

(Information Searching for Study)

2(2-0-4)
0001105

การอ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

(Reading and Writing English for Daily Life Communication)

2(2-0-4)
0001106

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารวัฒนธรรม

(English for Cultural Communication)

2(2-0-4)
0001107

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ

(English for Communication in the Workplace)

2(2-0-4)
0001108

ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

(Chinese for Daily Life Communication)

2(2-0-4)

 

2)  กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้       จำนวน 6 หน่วยกิต

0002101

พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนา

(Buddhism for Development)

2(2-0-4)
0002102

จิตวิทยาเพื่อการพัฒนาตน

(Psychology for Self Development)

2(2-0-4)
0002103

สุนทรียภาพของดนตรีกับชีวิต

(Music and Life Appreciation)

2(2-0-4)
0002104

ศิลปะและการออกแบบ

(Arts and Design)

2(2-0-4)
0002105

สุนทรียภาพการแสดง

(Art Performance Appreciation)

2(2-0-4)
0002106

สมาธิเพื่อพัฒนาชีวิต

(Meditation for Life Development)

2(2-0-4)

3)  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้        จำนวน 6 หน่วยกิต

                   – วิชาบังคับ                                                  บังคับเรียน 2 หน่วยกิต

0003107

ความเป็นพลเมืองที่ดี

(Smart Citizenship)

2(2-0-4)

 

                   – วิชาเลือก       โดยเลือกจากรายวิชาต่อไปนี้                          4  หน่วยกิต

0003101

ระบบสังคมไทย

(Thai Society System)

2(2-0-4)
0003102

ระบบสังคมโลก

(Global Society System)

2(2-0-4)
0003103

ธุรกิจกับชีวิตประจำวัน

(Business and Daily Life)

2(2-0-4)
0003104

ไทเลยศึกษา

(Loei Study)

2(2-0-4)
0003105

ประเทศไทยกับประชาคมอาเซียน

(Thailand and ASEAN Community)

2(2-0-4)
0003106

เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน

(Economy in Daily Life)

2(2-0-4)
0003108

กฎหมายในชีวิตประจำวัน

(Law in Daily Life)

2(2-0-4)

 

4)  กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้                                 จำนวน 8 หน่วยกิต

0004101

การคิดและการตัดสินใจ

(Thinking and Decision Making)

2(2-0-4)
0004102

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับชีวิตประจำวัน

(Computer Technology for Daily-Life)

2(2-0-4)
0004103

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

(Exercise for Health)

2(2-0-4)
0004104วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิต
(Science and Technology for Quality of Life)
2(2-0-4)
0004105

วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

(Science for Health)

2(2-0-4)
0004106

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

(Life and Environment)

2(2-0-4)
0004107เทคนิคการบำรุงรักษาเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน                     (Household Appliances Maintenance Techniques)2(2-0-4)
0004108

การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ในชีวิตประจำวัน

(Raising Crops and Animals in Daily Life)

2(2-0-4)

ข)  หมวดวิชาเฉพาะ                                                  จำนวน   100 หน่วยกิต

        1)  กลุ่มวิชาแกน                                                   จำนวน    45  หน่วยกิต

3502101

ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจ 1

(English for Business 1)

3(2-2-5)
3502102

ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจ 2

(English for Business 2)

3(2-2-5)
3502105

กฎหมายธุรกิจและการพาณิชย์

(Commercial and Business Law)

3(3-0-6)
3502205

เศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการธุรกิจ

(Economics for Business Management)

3(3-0-6)
3503103

ภาษาจีนสำหรับธุรกิจ 1

(Chinese for Business 1)

3(2-2-5)
3503204

การวิเคราะห์เชิงปริมาณและสถิติธุรกิจ

(Quantitative Analysis and Business Statistics)

3(3-0-6)
3503901

หลักการวิจัยทางธุรกิจ

(Principles of  Business  Research)

3(2-2-5)
3521104

หลักการบัญชีชั้นต้น

(Principles of Accounting)

3(2-2-5)
3531101

การเงินธุรกิจ

(Business  Finance)

3(3-0-6)
3541101

หลักการตลาด

(Principles  of  Marketing)

3(3-0-6)
3561105

การจัดการและองค์การ

(Management and Organizations)

3(3-0-6)
3562212

จริยธรรมทางธุรกิจ

(Business Ethics)

3(3-0-6)
3562402

การจัดการทรัพยากรมนุษย์

(Human Resource Management)

3(3-0-6)
3563301

การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ

(Production and Operation Management)

3(3-0-6)
3564201

การจัดการเชิงกลยุทธ์

(Strategic  Management)

3(3-0-6)

 2)  กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน  ประกอบด้วย  3  กลุ่มวิชา  ดังต่อไปนี้  

2.1 วิชาเนื้อหาบังคับ                                            จำนวน 42  หน่วยกิต

          1. กลุ่มประเด็นด้านองค์การและระบบสารสนเทศ             จำนวน 15  หน่วยกิต
3511101

หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ

(Principle of Information Systems)

3 (2-2-5)

3512101

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในองค์กรธุรกิจ

(Management Information System for Business Organization)

3 (2-2-5)
3513201

เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์

และซัพพลายเชน

(Information Technology for Logistic Management and Supply Chain)

3 (2-2-5)
3513601

ความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ

(Information Systems Security)

3 (3-0-6)
3514901

โครงงานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล

(Project in Business Computer of Digital)

3 (2-2-5)
2. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีเพื่องานประยุกต์                         จำนวน 12  หน่วยกิต
3511201

ระบบฐานข้อมูล

(Database Systems)

3 (2-2-5)
3512202

การออกแบบกราฟิกเพื่องานธุรกิจ

(Graphic design for Business)

3 (2-2-5)
3512203

การจัดการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในยุคดิจิทัล

(Electronic Commerce Management in Digital Age)

3 (2-2-5)
3512302

การออกแบบและพัฒนาเว็บในงานธุรกิจ

(Web Design and Developments for Business)

3 (2-2-5)
          3. กลุ่มวิชาเทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์                 จำนวน 9 หน่วยกิต
3511301

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

(Computer Programming)

3 (2-2-5)
3512301

โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึมเพื่องานธุรกิจ

(Data Structure and Algorithms for Business)

3 (2-2-5)
3513303

การพัฒนาแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่

(Mobile Application Development)

3 (2-2-5)
   
          4. กลุ่มวิชาโครงสร้างพื้นฐานของระบบ                          จำนวน 6  หน่วยกิต
3513301

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

(System Analysis and Design)

3 (2-2-5)
3513401

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

(Computer Networks)

3 (2-2-5)

2.2  วิชาเนื้อหาเลือก ให้เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้       จำนวน 6 หน่วยกิต

3512201

โปรแกรมสำเร็จรูปและการประยุกต์ใช้งานด้านธุรกิจ

(Software Package and Application for Business)

3 (2-2-5)
3512204

เทคโนโลยีมัลติมีเดียสำหรับงานธุรกิจ

(Multimedia Technology for Business)

3 (2-2-5)
3512205

การตลาดดิจิทัล

(Digital Marketing)

3 (2-2-5)
3512303

การสร้างแอนิเมชันเพื่องานธุรกิจ

(Animation for Business)

3 (2-2-5)
3513203

การทำเหมืองข้อมูลเพื่องานธุรกิจ

(Data Mining for Business)

3 (2-2-5)
3513302

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

(Object Oriented Programming)

3 (2-2-5)
3513304

การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เพื่องานธุรกิจ

(Application Development Applied for Business)

3 (2-2-5)
3513305

การพัฒนาโปรแกรมบนเว็บเพื่องานธุรกิจ

(Web Programming for Business)

3 (2-2-5)
3513306

การพัฒนาโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์อัจฉริยะ

(Programming for Smart Device)

3 (2-2-5)
3532204

การภาษีอากร

(Taxation)

3 (3-0-6)

 

2.3  วิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ/สหกิจศึกษา ไม่น้อยกว่า 7 หน่วยกิต

ให้เลือกเรียนจากกลุ่มต่อไปนี้ เพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

(1)  ปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3513801

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล

(Preparation of Experience in Business Computer of Digital)

1(90)
3514801

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจดิจิทัล

(Field  Experience  in  Business  Computer of Digital)

6(540)

(2)  กลุ่มสหกิจศึกษา

3503802

เตรียมสหกิจศึกษา

(Pre-Cooperative Education)

1(90)
3504803

สหกิจศึกษา

(Cooperative  Education)

6
  1. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า                6       หน่วยกิต

                 ให้เลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของสาขาวิชานี้